มรณกรรมของผู้แต่ง

มรณกรรมของผู้แต่ง (La mort de l’auteur) โรลองด์ บาร์ธส์   ในเรื่องสั้นชื่อ ซาร์ราซีน1 (Sarrasine)  ขณะที่พูดถึงบุรุษเพศที่ถูกตอนและแต่งตัวเป็นผู้หญิง บัลซัค (Balzac)2 ได้เขียนประโยคนี้ขึ้นมา     “นี่คือหญิงกับความกลัวที่เกิดขึ้นกระทันหัน กับการเ […]

» Read more

ทำไมวรรณกรรมสะท้อนสังคมจึงแก้ปัญหาสังคมไม่ได้ / สืบเนื่องจากคำถาม “ทำไมวรรณกรรมสะท้อนสังคม จึงแก้ปัญหาสังคมไม่ได้”

ทำไมวรรณกรรมสะท้อนสังคมจึงแก้ปัญหาสังคมไม่ได้ นพพร   ประชากุล เป็นเวลาร่วมสองทศวรรษมาแล้วที่กลุ่มคนซึ่งเรียกว่า “ชนชั้นกลาง” (อันประกอบด้วยนักธุรกิจ พ่อค้า แพทย์ วิศวกร นักสื่อสารมวลชน นักวิชาการ ฯลฯ)  ได้ก้าวขึ้นมาเป็นชนชั้นนำในสังคมไทยด้วยอาศัยผลพว […]

» Read more

มีอะไรในลูกอีสาน

มีอะไรในลูกอีสาน นพพร   ประชากุล หน้าปกหนังสือลูกอีสาน ฉบับปี พ.ศ. 2550   ข้อสังเกตประการแรกที่เกี่ยวกับ  ลูกอีสาน ของคำพูน  บุญทวี  ก็คือนวนิยายรางวัล ซีไรต์ของไทยเรื่องแรกนี้  มิได้แฝงปรัชญาอันลุ่มลึกชวนตื่นตะลึง  มิได้สาธิตวรรณศิลป์อันวิจิตรต […]

» Read more

ผู้หญิงของเฮมิงเวย์ ใน “แมวกลางฝน”

ผู้หญิงของเฮมิงเวย์ ใน “แมวกลางฝน” ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ เออร์เนสต์   เฮมิงเวย์ ที่มาภาพ http://www.oknation.net/blog/supermodels/2010/06/17/entry-4   ดังที่รู้กันอยู่โดยทั่วไปว่า เออร์เนสต์   เฮมิงเวย์ เจ้าของรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมได้รับการยก […]

» Read more

ญ่า นิทานร้อยแก้วแห่งพุทธศตวรรษที่ 25

ญ่า   นิทานร้อยแก้วแห่งพุทธศตวรรษที่ 25   ธเนศ   เวศร์ภาดา งานร้อยแก้วของอังคาร กัลยาณพงศ์ ดูจะอาภัพนัก ในเมื่องานกวีนิพนธ์ของเขาโดดเด่นครองใจผู้เสพวรรณศิลป์ไปเสียหมดแล้ว แต่เมื่อลองหยิบงานร้อยแก้วเรื่อง ญ่า มาพิเคราะห์ในด้านลีลา (style) ผู้เขีย […]

» Read more

มาลัย ชูพินิจ เหตุผลของความรักกับนวนิยายไทย

มาลัย   ชูพินิจ เหตุผลของความรักกับนวนิยายไทย   นิธิ   เอียวศรีวงศ์ ข้าพเจ้าเพิ่งได้รับการบอกเล่าจากเพื่อนผู้หนึ่งว่า  นักวิจารณ์วรรณกรรมอาวุโสท่านหนึ่งมีความเห็นเกี่ยวกับงานชิ้นสำคัญสองชิ้นของมาลัย  ชูพินิจ – แผ่นดินของเรา และ ทุ่งมหาราช […]

» Read more

ศัตรูที่ลื่นไหล : แง่มุมหนึ่งของวรรณกรรมไทยร่วมสมัย

ศัตรูที่ลื่นไหล : แง่มุมหนึ่งของวรรณกรรมไทยร่วมสมัย   เจตนา  นาควัชระ การบรรยายครั้งนี้เป็นการแสดงทัศนะเกี่ยวกับวรรณกรรมร่วมสมัยของไทย…ผู้บรรยายใคร่ขออนุญาตหยิบยกวรรณกรรมร่วมสมัยบางชิ้นขึ้นมาพิจารณาโดยไม่ได้จำกัดวงอยู่แต่ในประเภทของนวนิยาย ในขณะ […]

» Read more

จาก Gothic fiction ถึง “เงาอุบาทว์”

จาก Gothic fiction ถึง “เงาอุบาทว์” สุชาติ  สวัสดิ์ศรี … (เกริ่นนำถึงประสบการณ์การอ่านในวัยเด็กของคุณสุชาติ  สวัสดิ์ศรี)   เรื่องสั้น เงาอุบาทว์ ของปกรณ์  ปิ่นเฉลียว ที่คัดมาเป็น “เรื่องสั้นเกียรติยศ” ในฐานะที่เขาคือนักเขียนช่อการะเกดเกียรติยศ  […]

» Read more

โคลงห้า…มรดกทางวรรณคดีไทย

โคลงห้า…มรดกทางวรรณคดีไทย   จิตร  ภูมิศักดิ์ ในระยะสี่ห้าปีมานี้เอง งานวรรณกรรมทางด้านกาพย์กลอนของไทยเรารู้สึกว่าคึกคักและขยายตัวขึ้นมาก มี “นักกลอน“ ทั้งหนุ่มและสาวเกิดขึ้นมากมายทั้งที่เป็นเอกชน ทั้งที่รวมกันเป็นกลุ่มเล็ก และทั้งที่จัดตั้งกันขึ […]

» Read more

ผู้ดี

“ผู้ดี” นิลวรรณ   ปิ่นทอง ตามความเข้าใจกันอย่างง่าย การวิจารณ์หนังสือเล่มใด ก็คือการติชมหนังสือเล่มนั้น และนักวิจารณ์คือผู้ตั้งตัวขึ้นพินิจงานของผู้อื่น ฟังเผินๆ นักวิจารณ์ออกจะเป็นคน “เขื่อง” อยู่สักหน่อย  แท้ที่จริงความเป็นคนเขื่องของนักวิจารณ์อยู่ […]

» Read more
1 33 34 35 36 37 38